Undergraduate Program
Our Mission
" บทบาทสำคัญของการเรียนการสอนนิสิตแพทย์ ชั้นปีที่ 2 และปีที่ 3 ซึ่งจะเริ่มต้นด้วยรายวิชาหลักของเภสัชวิทยาและ
ต่อด้วยระบบต่างๆ ในร่างกายของมนุษย์ เช่น ระบบหัวใจ การเรียนการสอนจะมุ่งประเด็นไปที่การใช้ยาที่เกี่ยวกับหัวใจ เป็นต้น
นิสิตแพทย์ทุกคนจะได้รับการเรียนการสอนจนครบทุกระบบในร่างกาย"
ต่อด้วยระบบต่างๆ ในร่างกายของมนุษย์ เช่น ระบบหัวใจ การเรียนการสอนจะมุ่งประเด็นไปที่การใช้ยาที่เกี่ยวกับหัวใจ เป็นต้น
นิสิตแพทย์ทุกคนจะได้รับการเรียนการสอนจนครบทุกระบบในร่างกาย"
Our Innovation in Medical Education
" มีการใช้นวัตกรรมและวิธีการสอนแบบใหม่ๆ เพื่อให้สามารถเข้าถึงนิสิตได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งวิธีการ
เหล่านี้ได้เริ่มต้นขึ้นที่ภาควิชาเภสัชวิทยาเป็นที่แรก เรียกได้ว่าเป็นต้นแบบของภาควิชาอื่นๆ อีกด้วย"
ตัวอย่างรูปแบบการเรียนการสอนแบบใหม่
1. การจิบน้ำชา วิธีการนี้เริ่มต้นขึ้นในปี พ.ศ. 2553 หลังจากการสอบเสร็จสิ้นลงแล้ว อาจารย์จะเรียกนิสิต แพทย์ที่มีผลการสอบไม่ดีนักมาพูดคุยถึงปัญหาที่เกิดขึ้นและร่วมกันหาแนวทางแก้ไขเพื่อมุ่งหวังผลการสอบที่ดีขึ้น
2. ทดลองระบบนำร่องการใช้ E-announcement (การประกาศผลทางอิเล็กทรอนิกส์) เพื่อให้นิสิตแพทย์รับทราบผลการสอบแบบ แยกรายหัวข้อ วิธีการนี้เพิ่งเริ่มทดลองใช้ในบางรายวิชาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2563 โดยจะแบ่งผลการสอบออกเป็นแต่ละหัวข้อตามที่ได้เรียนมา หลังจาก สอบเสร็จแล้ว นิสิตแพทย์จะสามารถทราบคะแนนได้ว่าเกิดข้อบกพร่องในส่วนใดบ้างเพื่อจะได้แก้ไขปัญหาได้ตรงจุดสำหรับการสอบครั้งต่อไป
3. Problem-based learning (PBL)
4. Team-based learning (TBL) และพัฒนา Web-based iFAT
5. ทดลองระบบนำร่องการใช้ iPad based examination ผ่านระบบ Examplus ร่วมกับทางบริษัท Deverhood
รายวิชาบังคับ หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)
3000370: Principle of Pharmacology (หลักเภสัชวิทยา)
Semester: Medical Student Year 2-2
Credit 2.0 (1.0-2.0-3.0)
Course description:
แหล่งที่มาของยา รูปแบบของยา วิธีการบริหารยา การเรียกชื่อยา เภสัชตำรับ นโยบายแห่งชาติด้านยา การแพทย์แผนไทย กระบวนการทางเภสัชจลนศาสตร์และเภสัชพลศาสตร์ เภสัชวิทยาคลินิก อาการไม่พึงประสงค์และปฏิกิริยาต่อกันของยา หลักการสั่งใช้ยาอย่างสมเหตุผล การเขียนใบสั่งยา ยารักษามะเร็ง สารกระตุ้นภูมิคุ้มกัน ยาต้านจุลชีพ สารระงับเชื้อและสารฆ่าเชื้อ สารแก้พิษจากโลหะหนัก
อาจารย์ผู้สอน: คณาจารย์ประจำภาควิชาเภสัชวิทยา
3000384: Clinical Neuroscinece (ประสาทศาสตร์คลินิก)
Semester: Medical Student Year 3-1
Credit 2.0 (1.0-0.0-6.0)
Course description:
บูรณาการความรู้ทางระบาดวิทยา อาการวิทยา ภูมิคุ้มกันวิทยา จุลชีววิทยา ปรสิตวิทยา พยาธิกำเนิด พยาธิสรีรวิทยา ประสาทกายวิภาค ประสาทพยาธิวิทยา พยาธิวิทยาคลินิก ประสาทเภสัชวิทยา และหลักการดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวมสำหรับโรค และภาวะผิดปกติทางระบบประสาทที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ หลักการทางเวชจริยศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
อาจารย์ผู้สอน: อ.นพ.ธนกฤต พงพิทักษ์เมธา รศ.ดร.นพ.นิพัญจน์ อิศรเสนา และคณาจารย์ประจำรายวิชา
3000370: Principle of Pharmacology (หลักเภสัชวิทยา)
Semester: Medical Student Year 2-2
Credit 2.0 (1.0-2.0-3.0)
Course description:
แหล่งที่มาของยา รูปแบบของยา วิธีการบริหารยา การเรียกชื่อยา เภสัชตำรับ นโยบายแห่งชาติด้านยา การแพทย์แผนไทย กระบวนการทางเภสัชจลนศาสตร์และเภสัชพลศาสตร์ เภสัชวิทยาคลินิก อาการไม่พึงประสงค์และปฏิกิริยาต่อกันของยา หลักการสั่งใช้ยาอย่างสมเหตุผล การเขียนใบสั่งยา ยารักษามะเร็ง สารกระตุ้นภูมิคุ้มกัน ยาต้านจุลชีพ สารระงับเชื้อและสารฆ่าเชื้อ สารแก้พิษจากโลหะหนัก
อาจารย์ผู้สอน: คณาจารย์ประจำภาควิชาเภสัชวิทยา
รายวิชาเลือก
(Student Selected Components: SSC)
3010346: Rational Antimicrobial Use in Pediatrics (การใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผลด้านกุมารศาสตร์)
Semester: Medical Student Year 3-2 (limited seat)
Credit 4.0 (3.0-3.0-6.0)
Course description:
เภสัชวิทยาของยาต้านจุลชีพ กลไกการออกฤทธิ์ของยา หลักการทางเภสัชจลนศาสตร์ที่มีผลกระทบต่อระดับยาในเลือดประกอบไปด้วย การดูดซึมยา การกระจายยา การเปลี่ยนแปลงยา และการขจัดยา ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อตัวแปรทางเภสัชจลนศาสตร์ ความสัมพันธ์ระหว่างเภสัชจลนศาสตร์และการออกฤทธิ์ต้านเชื้อจุลชีพ การสั่งยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผล ประกอบไปด้วย ข้อบ่งชี้ ประสิทธิภาพ ความปลอดภัย ความยอมรับของผู้ป่วย รวมไปถึงค่าใช้จ่ายในการรักษาสำหรับโรคติดเชื้อที่พบบ่อย
อาจารย์ผู้สอน: ผศ.ดร.นพ.นพดล วัชระชัยสุรพล
3010347: Rational Drug Use in Neurology (การใช้ยาอย่างสมเหตุผลด้านประสาทวิทยา)
Semester: Medical Student Year 3-2 (limited seat)
Credit 4.0 (3.0-3.0-6.0)
Course description:
อาการ อาการแสดง และการวินิจฉัยโรคและภาวะผิดปกติของระบบประสาทที่พบบ่อย ประสาทเภสัชวิทยาการสั่งยาอย่างสมเหตุผลในโรคและภาวะผิดปกติของระบบประสาทที่พบบ่อย
อาจารย์ผู้สอน: อ.นพ.ธนกฤต พงพิทักษ์เมธา
รายวิชาการศึกษาทั่วไป
(General Education)
3010346: Rational Drug Use in Neurology (การใช้ยาอย่างสมเหตุผลด้านประสาทวิทยา)
Semester: 1st and 2nd semester
Credit 3.0 (3.0-3.0-6.0)
Course description:
อาการ อาการแสดง และการวินิจฉัยโรคและภาวะผิดปกติของระบบประสาทที่พบบ่อย ประสาทเภสัชวิทยาการสั่งยาอย่างสมเหตุผลในโรคและภาวะผิดปกติของระบบประสาทที่พบบ่อย
อาจารย์ผู้สอน: คณาจารย์